บันทึกวิดีโอการนำเสนอหรือการสอนโดยใช้ Powerpoint 2019 ให้เข้ากับสถานการณ์ COVID-19

บันทึกวิดีโอการนำเสนอหรือการสอนโดยใช้ Powerpoint 2019 ให้เข้ากับสถานการณ์ COVID-19

ในสถานการณ์ที่ไม่ปลอดภัยแบบนี้ และไม่สามารถนัดผู้ฟังให้มาพร้อมกันทุกคน การทำสื่อการสอนหรือการนำเสนอไว้เล่นย้อนหลังได้เป็นสิ่งจะเป็นและทำได้ง่ายๆ ดังนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงที่จะติดเชื้อ และไม่สามารถนำเสนอแบบ live บนแอปพลิเคชันประชุมได้เนื่องจากเน็ตขาดกะทันหัน หรือเหตุจำเป็นอื่นๆ จึงขอเสนอวิธีการใช้งานการบันทึกการนำเสนอ หรือการสอนบน Powerpoint ซึ่งจะมีการบันทึกเสียงผู้สอน และการใช้เมนูเครื่องมือที่จำเป็นสำหรับการนำเสนอซึ่งจำลองการสอนเหมือนอยู่ห้องเรียน ถ้าหากต้องการให้มีหน้าจอการนำเสนอแบบมีหน้าจอวิดีโอขณะนำเสนอด้วย ซึ่งจะมีหน้าจอที่มีความรู้สึกเหมือนประชุมออนไลน์ การทำงานนี้จะมีอยู่ใน Microsoft Powerpoint 2019 เท่านั้น ดังนั้นหากต้องการให้เห็นเป็นการบันทึกหน้าผู้นำเสนอด้วย จำเป็นต้องใช้ Powerpoint 2019 เท่านั้นวิธีการบันทึกการใช้งาน มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ เปิด Powerpoint และทำการตกแต่งสไลด์ตามปกติให้เสร็จเรียบร้อย จากนั้นให้ไปยังแทป Slide Show และไปยังเมนู Record Slide Show แต่ให้ไปคลิกที่ลูกศรเล็ก เพื่อเรียกเมนูที่ซ่อนไว้ขึ้นมา จากนั้นเลือกเมนู

การใช้งาน COVIDVPN เพื่อเข้าถึงงานวิจัยเพื่ออ้างอิง และการใช้งานเว็บไซต์งานวิจัยเบื้องต้น

การใช้งาน COVIDVPN เพื่อเข้าถึงงานวิจัยเพื่ออ้างอิง และการใช้งานเว็บไซต์งานวิจัยเบื้องต้น

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศได้เปิดให้ใช้งานระบบ COVIDVPN สำหรับ อาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เป็นการบริการเพื่อเข้าถึงเครือข่ายจากภายนอกมหาวิทยาลัย พร้อมทั้งการเข้าถึงงานวิจัยจากเว็บต่างๆ ที่ใช้อ้างอิงในงานวิจัย ในช่วงเวลาที่ต้อง Work From Home โดยทางสำนักวิทยบริการให้ทำ VPN ที่ชื่อว่า covidvpn.rmutp.ac.th โดยการใช้งานสามารถใช้ User name และ Password ที่ลงทะเบียนจาก RMUTP-Passport โดยสามารถเข้าดูวิธีใช้งานบนวินโดวส์เวอร์ชั่นต่างๆได้ดังนี้ ขั้นตอนการใช้งาน COVIDVPN บน Windows 10 ขั้นตอนการใช้งาน COVIDVPN บน Windows 8 และ Windows 8.1 ขั้นตอนการใช้งาน COVIDVPN

การเตรียมความพร้อมของอินเทอร์เน็ตก่อนการใช้โปรแกรมประชุมออนไลน์ (WebEx, Team, Zoom) ในช่วงสถานะการ COVID-19

การเตรียมความพร้อมของอินเทอร์เน็ตก่อนการใช้โปรแกรมประชุมออนไลน์ (WebEx, Team, Zoom) ในช่วงสถานะการ COVID-19

ในช่วงสถานะการ COVID-19 หลายบริษัทหรือหลายหน่วยงานเลือกที่จะใช้สื่อออนไลน์เป็นช่องทางในการประชุม เรามีคำแนะนำดีๆ ในการเตรียมความพร้อมก่อนถึงวันสำคัญของคุณมาแนะนำ

การใช้งาน selfbot เบื้องต้น และการใช้งานการจัดการระบบผู้ใช้งานเบื้องต้นพร้อมอธิบายการแก้ปัญหา

การใช้งาน selfbot เบื้องต้น และการใช้งานการจัดการระบบผู้ใช้งานเบื้องต้นพร้อมอธิบายการแก้ปัญหา

การใช้งาน selfbot เบื้องต้น และการใช้งานการจัดการระบบผู้ใช้งานเบื้องต้น

การติดตั้งใช้งาน spotter เบื้องต้น และการนำไฟล์วิดีโอออกมาจากระบบแม่ข่าย และสำรองไฟล์ไปยัง team drive

การติดตั้งใช้งาน spotter เบื้องต้น และการนำไฟล์วิดีโอออกมาจากระบบแม่ข่าย และสำรองไฟล์ไปยัง team drive

วิธีการติดตั้งใช้งาน spotter วิธีการบันทึกไฟล์วิดีโอ และวิธีการสำรองไฟล์ไปยัง team drive

การใช้งาน Teamviewer โดยใช้ IP Address ในการ Login

การใช้งาน Teamviewer โดยใช้ IP Address ในการ Login

การใช้งาน Teamviewer โดยใช้ IP Address ในการ Login การใช้งาน Teamviewer ในการสนับสนุนผู้ใช้งานที่ห่างไกลนั้น เป็นสิ่งจำเป็นมาก เนื่องจากการอธิบายจากการคุยผ่านแอปพลิเคชัน หรือการโทรศัพท์นั้นไม่สามารถทำให้ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ที่ไม่มีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์เข้าใจได้ง่าย ดังนั้นการใช้ Teamviewer แก้ปัญหาเฉพาะหน้า ณ เวลานั้นจึงจำเป็นอย่างมาก และผู้ใช้งานมีปัญหาอยู่บ่อยครั้ง หรือได้สร้างเครื่องแม่ข่ายไว้สำหรับการใช้งาน แต่การเข้าใช้งานผ่าน ID ที่ Teamviewer สร้างมานั้นจำได้ยาก หากเป็น IP Address ที่กำหนด หรือผู้ดูแลระบบดูแลเอง จึงทำให้การใช้งาน Teamviewer ง่ายมากขึ้น โดยมีวิธีการตั้งค่าบน Teamviewer ดังนี้ ไปที่ Extras ที่อยู่บน Menu